เชิญร่วมรณรงค์เรื่องสิทธิที่ดินกับ Land Rights Now! เข้าไปที่เว็บนี้ "http://www.landrightsnow.org/en/home/"
ปฏิญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิชนเผ่าพื้นเมือง คือผลจากการทำงานที่ยาวนานมากกว่า 20 ปีของผู้แทนชนเผ่าพื้นเมืองร่วมกับผู้แทนรัฐบาลและผู้เชี่ยวชาญ จนท้ายที่สุดได้รับการรับรองจากสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเมื่อวันที่ 13 กันยายน 2550 วัตถุประสงค์ของปฏิญญาคือ การวางมาตรฐานขั้นต่ำสำหรับการอยู่รอด ความมีศักดิ์ศรีและการอยู่ดีกินดีของชนเผ่าพื้นเมืองทั่วโลก (
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม และดาวโหลดเอกสาร
)
มูลนิธิร่วมกับชนเผ่าพื้นเมืองกลุ่มเปราะบางในประเทศไทยได้ร่วมกันออกแบบ
และพัฒนาระบบฐานข้อมูลชนเผ่าพื้นเมืองเพื่อนำไปใช้สำหรับการสร้างความเข้าใจ
และพัฒนาศักยภาพตนเอง (
ดูรายละเอียด
)
ที่ติดต่อสำนักงานและเบอร์โทรศัพท์ใหม่ของมูลนิธิ ม.ก.ส (
อ่านรายละเอียด
)
เอกสารข้อเสนอในการเตรียมความพร้อมต่อกลไกเรดด์พลัสของประเทศไทย หรือ R-PP ฉบับล่าสุด (
อ่านรายละเอียด
)
ร่างแผนแม่บทการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ฉบับใหม่ออกมาแล้ว
ดาว์โหลดเอกสาร
ได้ที่นี่
เครือข่ายกะเหรี่ยงฯ เรียกร้องให้มีการแก้ไขปัญหาการ
ละเมิดสิทธิของชาวกะเหรี่ยงที่ อ.แก่งกระจาน จ. เพชรบุรี
อ่าน
รายละเอียดคลิ๊ก
ที่นี่
มารู้จัก"สภาชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย" กันเถอะ?
อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับสภาชาติพันธุ์ฯ
เวทีมหกรรมชนเผ่าพื้นเมืองประจำปี 2560 (
รายละเอียด
)
ชนเผ่าพื้นเมืองหลายล้านคนต้องพึ่งพาอาศัยป่าสำหรับการอยู่รอด รวมทั้งการธำรงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม และจิตวิญญาณ โครงการเรดด์พลัส เป็นมาตรการอันหนึ่งที่จะใช้ในการลด ก๊าซเรือนกระจกของกรอบอนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศนั้น ชนเผ่าพื้นเมืองมีความกังวลว่า โครงการดังกล่าวเมื่อเข้ามาแล้วจะเข้ามาสร้างกฎเกณฑ์การใช้ประโยชน์ จากป่าขึ้นมาใหม่ เช่น การเพิ่มกฎเกณฑ์ที่เข้มงวดในการทำไร่ การล่าสัตว์ การเก็บหาอาหาร หรือยารักษาโรค การตัดฟืน การเลี้ยงสัตว์ หรือการใช้ทรัพยากรอื่นๆในป่า นอกจากนี้ชนเผ่าพื้นเมืองยังมองว่ามาตรการดังกล่าวจะทำให้รูปแบบ การบริหารจัดการทรัพยากรที่ดีของชนเผ่าพื้นเมืองอ่อนแอลง ดังนั้นถ้าหากสิทธิของชนเผ่าพื้นเมืองในด้านที่ดิน เขตแดนและทรัพยากรไม่ได้รับการยอมรับอย่างชัดเจนแล้ว โครงการเรดด์ที่เข้ามาอาจส่งผลกระทบที่รุนแรง
ต่อชาวบ้านได้ (
อ่านรายละเอียด
)
เป็นรูปแบบการบริหารจัดการของการใช้สิทธิของชุมชน ในการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมตามมาตรา 66 ของรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นสิทธิร่วมกันของชุมชนในการบริหารจัดการ การครอบครองที่ดินเพื่อการอยู่อาศัย และการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรที่ดิน เพื่อสร้างความมั่นคงในการถือครองและใช้ประโยชน์ในที่ดิน และเป็นการรักษาพื้นที่เกษตรในการผลิตพืชอาหาร ในการสร้างความมั่นคง ทางด้านอาหารและความมั่นคงทางด้านที่อยู่อาศัยของชุมชน โดยการเลือกรูปแบบการผลิตที่สอดคล้องกับ ภูมิปัญญาท้องถิ่นและ ระบบภูมินิเวศ รวมทั้งการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้สมดุล
(
อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม
)
การประชุมสมัยสามัญครั้งที่ 10 (16-27 พ.ค. 54) การประชุมสมัยสามัญครั้งที่ ๑๐ ของเวทีถาวรแห่งสหประชาชาติว่าด้วยประเด็นชนเผ่าพื้นเมือง ซึ่งจัดขึ้นระหว่างวันที่ ๑๖-๒๗ พฤษภาคม ๒๕๕๔ ที่นิวยอร์ค ในเวทีได้แลกเปลี่ยนและพูดคุยในประเด็นต่างๆ หลายเรื่อง เช่น ประเด็นเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน สิ่งแวดล้อม การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ประเด็นสำคัญๆ ที่เกี่ยวข้องกับพี่น้องชนเผ่าในไทยมีดังนี้ (
อ่านรายละเอียด
)
ทางมูลนิธิชนเผ่าพื้นเมืองฯ ร่วมกับองค์กรภาคีได้จัดทำคู่มือ การประยุกต์ใช้แนวคิด "หลักการยินยอมที่ได้รับการบอกแจ้งล่วงหน้า และเป็นอิสระ" หรือ Free, prior and informed consent (FPIC) เสร็จเรียบร้อยแล้ว เป็นฉบับภาษาอังกฤษ สเปนและฝรั่งเศส รวมทั้งภาษาไทย
(Download FPIC Handbook in English, Spanish and French click here
)
มูลนิธิฯ ร่วมกับชุมชนบ้านหินเหล็กไฟ หมู่ ๔ ต. ดอยแก้ว อ.จอมทอง จ.เชียงใหม่ ได้ร่วมกันศึกษาผลกระทบจากภาวะโลกร้อนที่มีต่อชุมชน
ข้อสรุปจากการศึกษามีดังนี้
188/525 Kurusapha Village, Soi 21, M.10, T. Sannameng, A. Sansai, Chiang Mai 50210 Thailand
Tel./Fax; +66 (0)52 063110